Category Archives: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การทำงานในชีวิตประจำวัน ง 33106

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องทักษะการจัดการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 รายวิชาการงาน 6 รหัสวิชา ง 33106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3  เรื่องทักษะการจัดการ
หน่วยการเรียนรุ้ที่  3  เวลา  3  คาบ
รห้สวิชา  ง  331106  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6
1.  สาระสำคัญ
ทักษะการจัดการเป็นการจัดระบบงานและระบบคนเพื่อให้สามารถทำงานได้สำเร็จตามเป้าหมายโดยกาารรดำเนินการวางตัวบุคคลให้เหมาะสมกับงานหรือให้คนทำงานตามความรู้
ความสามารถดังนั้นทักษะการจัดการจึงเป็นกระบวนการดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นระบบ
โดยเริ่มจากกาารวางแผน  การทำกิจกรรมตามหน้าที่อย่างสร้างสรรค์เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด เช่นทักษะการจัดการการดูแลรักษา  ทำความสะอาด
จัดตกแต่งบ้านและโรงเรียน  การบำรุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อำนวยความสะดวก
ในชีวิตประจำวัน  การปลูกพืช  การขยายพันธุ์พืชและการเลี้ยงสัยว์  และการดำเนินการทางธุรกิจ
2.  ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรุ้
     2.1  ตัวชี้วัด
นักเรียนสามารถอธิบายทักษะการทำงานต่าง ๆได้
    2.2  จุดประสงค์การเรียนรู้
             1.  บอกความหมายและความสำคัญของทักษะการจัดการได้ (ง  1.1  ม. 4-6/3)
             2.   อธิบายความมสำคัญและหลักการดูแลรักษา  ทำความสะอาด  จัด  ตกแต่งบ้าน
และโรงเรียนได้(ง 1.1 ม. 4-6/3)
             3.  บอกความแตกต่างระหว่างการจัด  ตกแต่งบ้านและโรงเรียนได้ (ง  1.1  ม. 4-6/3)
             4.  ดูแลรักษาความสะอาด  จัด  ตกแต่งห้องรับแขกหรือห้องเรียนได้((ง 1.1 ม. 4-6/3)
             5.  อธิบายความสำคัญของการบำรุงเก็บรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อำนวย
ความสะดวกได้(ง  1.1  ม. 4-6/3
             6.  บำรุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวันได้
(ง 1.1 ม. 4-6/3)
             7.  อธิบายความหมายและความสำคัญของพืชและการปลูกพืชได้(ง 1.1 ม. 4-6/3)
             8.  จำแนกประเภทและพันธุ์พืชได้(ง 1.1 ม. 4-6/3ป
             9.  บอกความหมายและความสำคัญของการขยายพันธุ์พืชได้(ง 1.1 ม. 4-6/3)
             10.ขยายพันธ์ุพืชได้เหมาะสมกับชนิดของพืช  (ง  1.1 ม. 4-6/3)
             11.อธิบายความหมายและความสำคัญของการเลี้ยงสัตว์ได้(ง 1.1 ม. 4-6/3)
             12.เลือกเลี้ยงสัตว์เพื่อความสวยงามและเพื่อบริโภคในครัวเรือนได้(ง 1.1 ม. 4-6/3)
             13.อธิบายการดำเนินงานทางธุรกิจได้(ง 1.1  ม.4-6/3)
3.  สาระการเรียนรู้
3.1  ความหมายและความสำคัญของทักษะกระบวนการจัดการ
             3.2   การดูแลรักษา  ทำความสะอาดจัดตกแต่งบ้านและโรงเรียน  การบำรุงเก็บรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในชีวิต     ประจำวัน
             3.3  การปลูกพืช  การขยายพันธุ์พืช  และการเลื้ยงสัตว์
             3.4  การดำเนินการทางธุรกิจ
4.   สมรรถน
ะสำคัญของผู้เรียน
4.1  ความสามารถในการสื่อสาร
             4.2  ความสามารถในการคิด
             4.3  ความสามารถในการแก้ปัญหา
             4.4  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
             4.5  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.  คุณลักษณะอันพึงประสงค์
  5.1  รักชาติ  ศาสน์  กษัตริย์
             5.2  ซื่อสัตย์สุจริต
             5.3  มีวินัย
             5.4  ใฝ่เรียนรู้
             5.5  อยู่อย่างพอเพียง
             5.6  มุุ่งมั่นในการทำงาน
             5,7  รักความเป็นไทย
             5.7  มีจิตสาธารณะ
6.  ค่านิยมไทย  12  ประการ
      6.1  มีความรักชาติ  ศาสนา  พระะมหากษัตริย์
      6.2  ซื่อสัตย์  เสียสละ  อดทน
      6.3  กตัญญูต่อพ่อแม่  ผู้ปกครอง  ครูบาอาจารย์
      6.4  ใฝ่หาคความรู้  หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม
      6.5  รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย
      6.6  มีศิลธรรมรักษาความสัตย์
      6.7  เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย
      6.8  มีระเบียบ  วินัย  เคารพกกฏหมาย  ผุ้น้อยรู้จักการเคารพผุ้ใหญ่
      6.9  มีสติ  รู้คิด  รู้ทำ
      6.10รุ้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
       6.11มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ
6.12คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่ววนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
7.  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและอาเซียน
8.  กิจกรรมการเรียนการสอน
1.  ครูทบทวนบทเรียนเดิมเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทำงานร่วมกันและอภิปรายร่วมกัน
ถึงทักษะการจัดการโดยใช้แนวคำถามดังนี้
1.1  ทักษะการจัดการหมายถึงอะไร.
แนวคำตอบ  การจัดระบบงานและระบบคนเพื่อให้สามารถดำเนินงานได้ตามเป้าหมายที่วางไว้
1.2  การดููแลรักษาบ้านและโรงเรียนมีความสำคัญต่อนักเรียนอย่างไร.
แนวคำตอบ  เพพราะเป็็นหน้าที่ของนักเรียนทำให้เกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเองส่ง
ผลให้นักเรียนมีความผูกพันธ์กับบ้านและโรงเรียน
1.3  นักเรียนเคยดูแลรักษาความสะอาดห้องครัวหรือไม่  ยกตัวอย่าง
แนวคำตอบ  เคยทำทุกวันโดยหลังจากประกอบอาหารแล้วทำความสะอาดเเตาแก๊สทุกวันโดยนำผ้าชุบน้ำและสารสบุ่เช็ดถู  นอกจากนั้นทำความสะอาดพื้นด้วยการเช็ดถู  กวาด
2.  ครูแจ้งตัวชี้วัด/จุดประสงค์กาารเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการงานต่าง ๆ ให้บรรลุจุดมุ่งหมาย
และให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
3.  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ  4   คน  คละกันตามความสามารถโดยมีนักเรียนเก่ง
1   คน  ปานกลาง  2  คน    และอ่อน  1   คน  เลือกประธานและเลขานุการกลุ่มซึ่งเรียกว่า
กลุ่มบ้าน(Home  Group)
4.  ให้ประธานกลุ่มรับใบความรู้ที่  3.1  และใบงานที่  3.1  เรื่องความหมายและความสำคัญ
ของทักาะกระบวนการการจัดการ – ใบงานที่  3.4  ดังนี้
คนที่  1  รับใบความรู้ที่  3.1  และใบงานที่  3.1  เรื้องการดูแลรักษาทำความสะอาด  จัดตกแต่ง
บ้านและโรงเรียน
คนที่  2   รับใบความรู้ที่  3.2  และใบงานที่  3.2  เรื่องการบำรุงเก้บรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าและ
อุปกรณ์อำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน
คนที่  3  รับใบความรู้ที่  3.3  และใบงานที่  3.3  เรื่องการปลุกพืช  การขยายพันธุ์พืชและ       การเลี้ยงสัตว์
คนที่  4  รับใบความรู้ที่  3.4  แและใบงานที่  3.4  เรื่องการดำเนินการทางธุรกิจ
5.  จัดกลุ่มเชี่ยวชาญ(Expert  group)โดยให้นักเรียนจากกลุ่มบ้านแต่ละคนที่ได้รับใบงาน
เดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่  แล้วศึกษาฝึกฝนทำความเข้าใจเนื้อหา  อภิปรายตามใบงาน
ที่ไดรับมอบหมายร่วมกันจนเข้าใจ
6.  ให้นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มเชี่ยวชาญกลับกลุ่มบ้านแล้วดำเนินการดังนี้
      6.1  ผลัดกันอธิบายเนื้อหาและผลการอภิปรายให้สมาชิกในกลุ่มฟังโดยเริ่มจาก  ใบงานที่
3.1  3.2  3.3  และ 3.4
      6.2  สมาชิกในกลุ่มซซักถามและทำความเข้าใจร่วมกัน  ขณะที่นักเรียนเข้ากลุ่มครุคอยสังเกตพฤติกรรมการทำงานของกลุ่มและให้คำแนะนำเพิ่มเติม
7.  ครูอธิบายสอดแทรกค่านิยมไทย  12  ประการ  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์    ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและอาเซียน 
8.  ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของทักษะกระบวนการ
การจัดการ  การบำรุงเก็บรักษาทำความสะอาด  จัดตกแต่งบ้านและโรงเรียน  การปลูกพืช
การขยาพันธุ์พืชและการเลี้ยงสัตว์  และการดำเนินงานทางธุรกิจ
9.  ทดสอบรายบุคคลแล้วเปลี่ยนกันตรวจตามเฉลย  เฉลี่ยคะแนนของกลุ่มเป็นคะแนนของ
สมาชิกทุกคนในกลุ่มและครูยกย่องชมเชยกลุ่มที่ได้คะแนนมากที่สุดและให้รางวัล
สื่อการเรียนการสอน
         1.  ใบความรู้ที่  ใบงานที่  3.1  เรื่องความหมายและความสำคัญของทักษะกระบวนการจัดการ
         2.  ใบความรู้  ใบงานที่  3.2  เรื่องการบำรุงเก็บรักษาทำความสะอาดจัดตกแต่งบ้านและโรงเรียน
         3.  ใบความรู้ที่  ใบงานที่  3.3  เรื่องการปลูกพืช  การขยายพันธุ์พืชและการเลี้ยงสัตว์
         4.  ใบความรู้ที  ใบงานที่  3.4  เรื่องการดำเนินงานทางธุรกิจ
การวัดและประเมินผล
1.  สิ่งที่จะวัด
1.1  ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ประจำหน่วย
1.2  พฤติกรรมการปฏิบัติ
1.3  การทำกิจกรรม/ปฏิบัติผลงาน
2.  วิธีการวัด
2.1  ทำแบบทดสออบ
2.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ
2.3  ตรวจผลการทำกิจกรรม/ผลงาน
3.  เครื่องมือวัด
3.1  แบบทดสอบ
3.2  แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
3.3  แบบบันทึกการทำกิจกรรม/แบบตรวจผลงาน
4.  เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
4.1  เกณฑ์การวัด
4.1.1  ให้คะแนนแบบทดสอบ  ข้อถูกให้  1  คะแนน  ข้อผิดให้  0   คะแนน
4.1.2  ให้คะแนนพฤติกรรมดังนี้
ดีมาก         ให้    9-10    คะแนน
ดี                ให้    7-8      คะแนน
พอใช้         ให้    5-6      คะแนน
ควรปรับปรุงให้    1-4      คะแนน

4.1.3  ให้คะแนนการทำกิจกรรม  ดังนี้  ข้อถูกใให้  1  คะแนน  ข้อผิดให้  0  คะแนน

4.2  เกณฑ์การประเมินผล
4.2.1  นักเรียนได้คะแนนทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ  50

4.2.2  นักเรียนได้คะแนนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ  70

4.2.3  นักเรียนได้คะแนนกิจกรรม/คะแนนผลงานรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ  70

 

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา

……………………………………………………..

ลงชื่อ…………………………..ผู้บริหาร
(นายไตรสรณ์   สุวพงษ์)
ตำแหน่ง  ผู้อำนวยการโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม

 

บันทึกผลหลังการสอน
1.  ผลการสอน         

 2.  ปัญหาและอุปสรรค

3.  ข้อเสนอแนะ

                                                                                                                                                       ลงชื่อ………………….ครูผู้สอน                                            

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องความคิดสร้างสรรค์(เอกลักษณ์ไทย)และทักษะการทำงานร่วมกัน รายวิชา ง 33106 ม.6

แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2    เรื่องความคิดสร้างสรรค์(เอกลักษณ์ไทย)
และทักษะการทำงานร่วมกัน
รหัสวิชา  ง  33106  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6
หน่วยการเรียนรู้ที่  2  เวลา   3  คาบ

1.  สาระสำคัญ
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการคิดของสมองที่คิดอย่างสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆที่แตกต่างไปจากเดิมและสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมสมองมนุษย์มีความสามารถในการคิด
ที่หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิมจนนำไปสู่การสร้างสิ่งของที่แปลกใหม่และการแก้ปัญหา
        ทักษะการทำงานร่วมกัน  เป็นทักษะทางสังคมที่สำคัญอย่างหนึ่งเพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคมไม่สามารถอยู่ได้ตามลำพังจึงรวมกันเป็นกลุ่มเพื่อการทำงานหรือแก้ปัญหา
2.  ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
     2.1  ตัวชี้วัด
นักเรียนสามารถอธิบายความคิดสร้างสรรค์และรวมกลุ่มประดิษฐ์ของใช้ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย
     2.2  จุดประสงค์การเรียนรู้
             1.  บอกความหมายและประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์ได้
             2.  จำแนกลักษณะของความคิดสร้างสรรค์ได้
             3.  ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้อย่างมีความสุข
             4.  ประดิษฐ์ของใช้ที่เป็นเอกลักษณ์ไทยได้
             5.  บอกหน้าที่และบทบาทของตนเองที่มีต่อสมาชิกในครอบครัวโรงเรียน และชุมชนได้
3.  สาระการเรียนรุ้
            3.1  ความหมายและประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์
            3.2 จำแนกลักษณะของความคิดสร้างสรรค์
            3.3  ทักษะการทำงานร่วมกัน
            3.4  ประดิษฐ์ของใช้ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย
                    3.4.1  มาลัยซีก
                    3.4.2  มาลัยกลม
                    3.4.3  มาลัยตุ้ม
           3.5  บอกหน้าที่และบทบาทของตนเองที่มีต่อสมาชิกในครอบครัว  โรงเรียนและชุมชน
4.  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
           4.1  ความสามารถในการสื่อสาร
           4.2  ความสามารถในการคิด
           4.3  ความสามารถในการแก้ปัญหา
           4.4  ความสามารถในการใช้ทักษะในการใช้ชีวิต
           4.5  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.  คุณลักษณะอันพึงประสงค์
      1.  รักชาติ  ศาสน์  กษัตริย์
      2.  ซื่อสัตย์สุจริต
      3.  มีวินัย
      4.  ใฝ่เรียนรู้
      5.  อยู่อย่างพอเพียง
      6.  มุ่งมั่นในการทำงาน
      7.  รักความเป็นไทย
      8.  มีจิตสาธารณะ
6.  ค่านิยมไทย  12  ประการ
      1.  มีความรักชาติ  ศาสนา  พระมหากษัตริย์
      2.  ซื่อสัตยื  เสียสละ  อดทน
      3.  กตัญญูพ่อแม่  ผู้ปกครอง  ครุบาอาจารย์
      4.ใฝ่หาความรู้  หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม
      5.  รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย
      6.  มีศิลธรรมรักษาความสัตย์
      7.  เข้าใจการเรียนรู้เป็นประชาธิปไตย
      8.  มีระเบียบ  วินัย  เคารพกฎกหมาย  ปผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่
      9.  มีสติ  รุ้คิด  รู้ทำ
      10.รู้จักดำรงตนอยุ่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
      11.มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ  ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ
      12.คำนึงถึงผลประโยชนืของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
7.  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ความมีเหตุผล
     ความมีเหตุผลหมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง  ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่า
จะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
8.  กิจกรรมการเรียนนการสอน (คาบ 1-2)
1.  ให้นักเรียนดูรูปภาพเด็กชายหม่อง  ทองศรี  แชมป์เครื่องบินกระะดาษพับ
จากประเทศญึ่ปุ่น  จากหนังสือแบบเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี  ง 33106
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 หน้า  26 และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรรายในประเด็นต่อไปนี้
          1.1  อะไรทำให้เด็กชายหหม่อง  ทองศรี   ได้เข้าร่วมแข่งขันเครื่องบินกระดาษพับ
          1.2  เพราะเหตุใดเด็กชายหม่อง  ทองศรี  จึงได้รับรางวัลแชมป์เครื่องบินกระดาษพับ
          1.3  มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้เด็กชายหม่อง  ทองศรี  ได้รับรางวัลแชมป์เครื่องบิน
กระดาษพับ
          1.4.  แชมป์เครื่องบินกระดาษพับได้รับการสนับสนุนจากใครบ้าง
          1.5  นักเรียนคิดว่าเด็กชาหม่อง  คำศรี  มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้างก่อนที่จะได้รับ
รางวัลแชมป์เครื่องบินกระดาษพับ
    2.  ครูแจ้งตัวชึ้วัดให้นักเรียนได้ทราบว่า  ต่อไปนี้นักเรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับความคิด
สร้างสรรค์และรวมกลุ่มประดิษฐ์ของใช้ที่เป็นเอกลักษณ์ไทยและทำแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่  2  เรื่องความคิดสร้างสรรค์(เอกลักษณ์ไทย)และทักษะการทำงานร่วมกัน
    3.  แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ  4-6  คน  โดยคละกันตามความสามารถ
    4.  ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาสาระจากหนังสือเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี  หน้า
23-33ในหัวข้อ  ความหมายและประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์  การจำแนกลักษณะของ
ความคิดสร้างสรรค์  การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
     5.  ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มรับใบงานที่  1.1  เรื่องความคิดสร้างสรรค์  การจำแนกลักษณะของ
ความคิดสร้างสรรค์และการทำงานร่วมกัเป็นกลุ่ม  และร่วมกันทำกิจกรรม  โดยครุคอย
ให้คำแนะนำเพิ่มเติมและสังเกตพฤติกรรม
    6.  ให้แต่ละกลุ่มส่่งตัวแทนรายงานหน้าชั้นเรียนโดยให้สรุปใจความสำคัญลงในแผ่นใส
ตามที่ครูกำหนดให้ดังนี้
          กลุ่มที่  1  รายงานเรื่องความหมายของความคิดสร้างสรรค์
          กลุ่มที่  2  การจำแนกลักษณะของความคิดสร้างสรรค์
          กลุ่มที่  3  องค์ประกอบของความคิดสร้าางสรรค์และขั้นตอนในการคิด
          กลุ่มที่  4  ประโยชน์ของความคิดสร้างสรรค์
          กลุ่มที่  5   อุปสรรค์ของการฝึกความคิดสร้างสรรค์
          กลุ่มที่  6  ทักษะการทำงานร่วมกัน
          กลุ่มที่  7  กระบวนการกลุ่ม
    7.  ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายตามใบงานที่  1.1  ดังนี้
         7.1  ความคิดสร้างสรรค์หมายถึงอะไร
แนวคำตอบ  กระบวนการคิดของสมองที่คิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆที่แตกต่างไปจากเดิมและสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมเพราะสมองของมนุษย์เรามีความสามารถในการคิด
ได้หลากหลายและแปลกใหม่และคิดรูปแบบใหม่ขึ้นมาเลือกว่า  คิดนอกกรอบ
       7.2  ความคิดสร้างสรรค์จำแนกได้กี่ลักษณะ
แนวคำตอบ  การคิดสร้างสรรค์มี  4  ลักษณะคือความคิดริเริ่ม(Originality)ลักษณะความคิด
แปลกใหม่แตกต่างจากความคิดเดิม เช่นการเลี้ยงกบในกล่องโฟม  ความคล่องในการคิด
(Fluenncy)คือความสามารถในการคิดหาคำตอบ ความยืดหยุ่นในการคิด(Flexibility)คือความสามารถในการคิดหาคำตอบได้หลายประเภท  เช่น นำขวดน้ำพลาสติกหรือกล่องนมไปดัดแลงให้ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันความคิดละเอียดละออ(Elaboration)คือความคิดในรายละเอียดเพื่อตกแต่งหรือขยายความคิดหลัก
7.3  องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ได้แก่อะไรบ้างและมีขั้นตอนในการคิดอย่างไร
แนวคำตอบ  ความคิดสร้างสรรค์จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยองค์ประกอบ  3  อย่างคือความคิดนั้นต้องเป็นสิ่งใหม่  เป็นความคิดไม่เหมือนใคร  นำไปใช้ได้หรือมีประโยชน์  มีความเหมาะสมกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่กำลังคิดกำลังแก้ปัญหา
ขั้นตอนในการคิดมี  4  ขั้นตอนคือ ขั้นเตรียมการคือการรวบรวมข้อมูล  ขั้นครุ่นคิด
แต่ยังคิดไม่ออก  ขั้นของการเกิดความคิด  ขั้นพิสูจน์  เป็นระยะของการตรวจสอบประเมินผล
7.4  ข้อใดคือประโยชน์ของการคิดสร้างสรรค์
แนวคำตอบ  1.  ทำให้เกิดแนวทางใหม่ ๆในการดำเนินชีวิต  2.  ช่วยพัฒนาสมองของคนให้มีความแลาด  เฉียบคม การคิดเรื่องแปลกใหม่อยู่ประจำทำให้สมองเฉียบแหลมในการแก้ปัญหา
3.  สร้างความเชื่อมั่นและความภาคภูมิใจในตนเอง  4.   ช่วยยกระดับความสามมารถและความ
อดทน  5.  ความคิดสร้างสรรค์ก่อให้เกิดเทคโนโลยีต่าง ๆที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สังคม
7.5 ข้อใดคือ อุปสรรคของการฝึกความคิดสร้าางสรรค์
แนวคำตอบ  แบ่งออกเป็น  2  ประเภทท  คืออุปสรรคภายนอก  ข้อจำกัดอันเกิดจาก               ขนบธรรมเนียม  ประเพณี  วัฒนธรรมและกฏเกณฑ์ของสังคม
อุปสรรคคภายใน  คือ  อุปนิสัย  ท่าที  และเจตคติของตัวเองได้แก่่ความกลัวที่จะถูกกตำหนิและหาว่าแปลกหรือชินกับความคิดเดิมหรือมีมุมมองแคบมองทุกอย่างเพียงมิติเดียว
7.6  ทักษะการทำงานร่วมกันหมายถึงอะไร
แนวคำตอบ  ทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทักษะทางสังคมที่สำคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์
เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคมไม่สามารถอยู่ตามลำพังต้องอยู่รวมกันเป็นหมู่
7.7  กระบวนการกลุ่มหมายถึงกระบวนการทำงานร่วมกันขของบุคคลตั้งแต่  2  คนขึ้นไป
โดยมีวัตถุประสงค์และการดำเนินงานร่วมกันโดยผู้นำกลุุ่มและสมาชิกทำหน้าที่ของตนเอง
8.  ครูและนักเเรียนร่วมกันสรุปความคิดสร้างสรรค์(เอกลักษณ์ไทย)และทักษะการทำงานร่วมกันและครูสอดแทรกเรื่องค่านิยมม  12  ประการ  คุณลักษณะอันพึงประสงค์  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องความีเหตุผลในการคิดแบบต่างๆ
9.  ให้ตัวแทนกลุ่มรับใบงานที่  2.2 เรื่องกาารประดิษฐ์ของใช้ที่เป้็นเอกลักษณ์ไทยและ
ใบงานที่  2.3  เรื่องหน้าที่และบทบาทของตนเองที่มีต่อสมาชิกในครอบครัว  โรงเรียนชุมชน
10.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปใบงานที่  2.2 และใบงานที่  2.3
10.ตัวแทนกลุ่มรับใบความรู้ที่่  2.1  ไปศึกษาเพิ่มเติม  พร้อมทั้งให้ไปศึกษาล่วงหน้าในหัวข้อ
การร้อยมาลัยซีก  มาลัยกลมแและมาลัยตุ้ม ในหนังสือการงานอาชีพและเทคโนโลยีหน้า
37-42 และใบความรุ้ที่  2.2 เรื่องหน้าที่แลละบทบาทของตนเองที่มีต่อครอบครัวโรงเรียนชุมชน
กิจกรรมการเรียนการสอน (คาบที่ 3)
1.  ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนบทเรียนเดิมเรื่องการประดิษฐ์ของใช้ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย
2.  ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่าต่อไปนี้นักเรียนจะได้ปฏิบัติการร้อยมาลัยซีก  มาลัยกลมและมาลัยตุ้ม  และเรื่องหน้าที่และบทบาทของตนเองที่มีต่อสมาชิกในครอบครัวโรงเรียน ชุมชน
3.  นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ  3-4คน  คละตามมระดับความสามารถโดยให้มีนักเรียนเก่ง  1  คน
นักเรียนปานกลาง  2  คน  และนักเรียนอ่อน  1  คน  เลือกประธาน  และเลขากลุ่ม ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน
4.  ประธานแต่ละกลุ่มรับใบงาน  4  ชุดและแจกให้สมาชิกในกลุ่มดังนี้
คนที่  1  รับใบความรู้และรับใบงานที่  2.2  เรื่องวัสดุ-อุปกรณ์  ขั้นตอนวิธีการร้อยมาลัยซีก
คนที่  2   รับใบความรู้และรับใบงานที่  2.3  เรื่องวัสดุ-อุปกรณ์  ขั้นตอนการร้อยมาลัยกลม
คนที่  3  รับใบความรู้และรับใบงานที่  2.3  เรื่องวัสดุ-อุปกรณื  ขั้นตอนการร้อยมาลัยตุ้ม
คนที่  4  รับใบความรู้รับใบงานที่  2.5  เรื่องหน้าที่และบทบาทตนเองที่มีต่อครอบครัว  โรงเรียนและชุมชน
5.  จัดกลุ่มเชียวชาญโดยให้นักเรียนจากกลุ่มบ้านที่ได้รับใบงงานเดียวกันไปรวมกลุ่มกันใหม่
ศึกษาทำความเข้าใจและทำกิจกรรมร่วมกันพร้อมจดบันทึกคำตอบลงในใบงานให้้ครบ
ขณะนักเรียนทำกิจกรรมครูคอยสังเกตพฤติกรรมนักเรียนพร้อมชี้แนะในข้อที่สงสัย
6.  ให้สมาาชิกในกลุ่มเชี่ยวชาญกลับเข้ากลุ่มเดิมแล้วดำเนินการดังนี้
6.1  ผล้ดกันอธิบายให้สมาาชิกในกลุ่มฟังโดยเริ่มจากใบงานที่  2.2  2.3  2.4และ2.5
ตามลำดับจนครบทุกคน.
6.2  สมาชิกในกลุ่มซักถามและทำความเข้าใจร่วมกัน
7.  ครูสาธิตการร้อยมาาลัยซีก  มาลัยกลม  มาลัยตุ้ม  ให้นักเรียนดูและให้นักเรียนปฏิบัติตามแบบตัวอย่างที่ครูสาธิตและฝึกร้อยมาลัย  2-3ครั้งเพื่อให้เกิดความชำนาญ
8.  ให้นักเรียนร้อยมาลัยตามแบบ
9.  ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปถึงวิธีการร้อยมาลัยและหน้าทที่และบทบาทของตนเองที่มีต่อสมาชิกในครอบครัว  โรงเรียนและชุมชน
10. ทดสอบหลังเรียน (แบบทดสอบหลังเรียนในเว็บไซตืkrupaga)
สื่อการเรียนการสอน
1. ใบงานที่  2.1  เรื่องความคิดสร้างสรรค์เอกลัการ์ไทยและทักษะการทำงานร่วมกัน
2.  แผ่นใส
3.  ปากกาเขียนแผ่นใส
4.  เครื่องแายข้ามศรีาะ
5.  ใบงานที่  2.2  เรื่องวัสดุ-อุปกรณ์ขั้นตอนวิธีการร้อยมาลัยซีก
6.  ใบงานที่  2.3  เรื่องวัสดุ-อุปกรณ์ขั้นตอนวิธีการร้อยมาลัยกลม
7.  ใบงานที่  2.4  เรื่องวัสดุ-อุปกรณ์ขั้นตอนวิธีการร้อยมาลัยตุ้ม
8.  ใบงานที่  2.5  เรื่องหน้าที่และบทบาทของตนเองที่มีต่อสมาชิกในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน
การวัดผลประเมินผล
1.  สิ่งที่จะวัด
1.1  ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
1.2  พฤติกรรมการปฏิบัติ
1.3  การทำกิจกรรม
2.  วิธีการวัด
2.1  ทำแบบทดสอบ
2.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ
2.3  ตรวจผลการทำกิจกรรม(ผลงาน)
3.  เครื่องมือวัด
3.1  แบบทดสอบ
3.2  แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
3.3  แบบบันทึกการทำกิจกรรม(แบบบันทึกการตรวจผลงาน)
4.  เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
4.1  เกณฑ์การวัด
4.1.1  ให้คะแนนแบบทดสอบ  ข้อถูกให้  1  คะแนน  ข้อผิดให้  0  คะแนน
4.1.2  ให้คะแนนพฤติกรรมดังนี้
ดีมาก       ให้    9-10  คะแนน
ดี               ให้    7-8    คะแนน
พอใช้        ให้    5-6    คะแนน
ควรปรับปรุงให้  1-4    คะแนน
4.1.3  ให้คะแนนการทำกิจกรรมหรือคะแนนปฏิบัติผลงาน  ดังนี้  ข้อถูกให้  1  คะแนน
ข้อผิดให้  0  คะแนน  สำหรับผลงาน  ผลงานเสร็จสมบูรณ์เรียนบร้อยทันเวลที่กำหนด
ให้   5  คะแนน  ทำผลงานเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ทันเวลาแต่ยังไม่ประณีตความสวยงามระดับปานกลาง-ดี ให้คะแนน  4   คะแนน  ทำเสร็จสมบูรณ์ทันเวลาแต่ไม่สวยงามให้  3  คะแนน
4.2  เกรณฑ์การประเมินผล
4.2.1  นักเรียนได้คะแนนนทดสอบไม่น้อยกว่่าร้อยละ  50
4.2.2  นักเรียนได้คะแนนพฤติกรรมรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ  70
4.2.3  นักเรียนได้คะแนนกิจกรรมหรือผลงานรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ  70
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา
…………………………….
ลงชื่อ                                   ผู้บริหาร
(นายไตรสรณ์  สุวพงงษ์)                                                                                                      ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

บันทึกผลหลังสสอน
1.  ผลการสอน
2.  ปัญหาและอุปสรรค
3.  ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ลงชื่อ……………………………ครูผู้สอน
(นางผกาวดี  ศรีวะสุทธิ์)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1/57 เรื่องการทำงานในชีวิตประจำวัน รายวิชา ง 33106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6า

แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
เรื่อง  การทำงานในชีวิตประจำวัน  รหัสวิชา  ง  33106
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6  เวลา  2  คาบ
(คาบที่  1-2)
1.  สาระสำคัญ
     การทำงานเพื่อการดำรงชีวิตให้ประสบผลสำเร็จนั้นจะต้องมีหลัการทำงานอย่างเป็นระบบ
วิธีการทำงานในการดำรงชีวิตเป็นการทำงานที่จำเป็นเกี่ยวกับความเป็็นอยู่ในชีวิตประจำวัน
เช่น  การเลือกใช้  ดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
2.  ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
     2.1  ตัวชี้วัด
            นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิตประจำวันได้
    2.2  จุดประสงค์การเรียนรู้
            1.  บอกหลักการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต  6P ได้
            2.  บอกหลักการทำงานให้ประสบผลสำเร็จได้
            3.  อธิบายความหมายและความสำคัญของงานในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง
            4.  อธิบายความสำคัญของการแต่งกายได้ถูกต้อง
            5.  อธิบายวิธีเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมกับวัย
            6.  อธิบายวิธีดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายให้สะอาดและมีความคุ้มค่า
3.  สาระการเรียนรุ้
     3.1  หลักการทำงาน  6P
     3.2  หลักการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ
     3.3  ความหมายและความสำคัญของงานในชีวิตตประจำวัน
     3.4  ความสำคัญของการแต่งกาย
     3.5  วิธีเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมกับวัย
     3.6  วิธีดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
4.  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
     4.1  ความสามารถในการสื่อสาร
     4.2  ความสามารถในการคิด
     4.3  ความสามารถในการแก้ปัญหา
     4.4  ความสามารถในการใช้ทักษะในชีวิต
     4.5  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.  คุณลักษณะอันพึงประสงค์
      5.1  รักชาติ  ศาสน์  กษัตริย์
      5.2  ซื่อสัตย์สุจริต
      5.3  มีวินัย
      5.4  ใฝ่เรียนรู้
      5.5  อยู่อย่างพอเพียง 
      5.6  มุ่งมั่นในการทำงาน
      5.7  รักความเป็นไทย
      5.8  มีจิตสาธารณะ
6.  ค่านิยมไทย  12  ประการ
      6.1  มีความรักชาติ  ศาสนา  พระมหากษัตริย์
      6.2  ซื่อสัตย์   เสียสละ  อดทน
      6.3  กตัญญูต่อพ่อแม่  ผู้ปกครอง  ครูบาอาจารย์
      6.4  ใฝ่หาความรู้  หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและะทางอ้อม
      6.5  รักวัฒนธรรมประเพณีไทย
      6.6  มีศิลธรรมรักษาความสัตย์
      6.7  เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย
      6.8  มีระเบียบ  วินัย  เคารพกฏหมายผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่
      6.9  มีสติ  รู้คิด  รู้ทำ
      6.10รู้จักดำรงตนอยู่อย่างโดยใช้หลักปรัชญาเสรษฐกิจพอเพียง
      6.11มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ  ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ
      6.12คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ส่วนของตนเอง
7.  หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
8.  กิจกรรมการเรียนการสอน
1.  ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงการทำงานในชีวิตประจำวันว่ามีงานอะไรบ้างโดย
สุ่มถามนักเรียนและครูนำรูปภาพการทำงานบ้านและรูปภาพอาชีพต่าง ๆ ให้นักเรียนดู
แล้วสนทนากับนักเรียนโดยใช้คำถามดังนี้
1.1  งานบ้านที่นักเรียนทำเป็นประจำทุกวันได้แก่งานชนิดใดบ้าง.
แนวคำตอบ  เตรียมและประกอบอาหาร  จัดโต๊ะอาหาร  ทำความสะอาดภาชนะ
เครื่องใช้ในครัว  และโต๊ะรับประทานอาหาร  ซักผ้า  เก็บพับเสื้อผ้า  ทำความสะอาด
โตีะเก้าอี้  ทำความสะอาดเตาแก๊ส  เก็บที่นอน ปัดกวาดเช็ดถูพื้นห้องทุกห้องบริเวณบ้าน
รดน้ำต้นไม้  จัดอาหารให้ผู้สุงอายุรับประทาน  ดูแลความสะอาดร่างกายผู้สูงอายุ
ซักเสื้อผ้าเครื่งแต่งกายผู้สูงอายุ  ให้อาหารสัตว์เลี้ยงเช่น  สุนัข  แมว  นกแก้ว  หมู
1.2  การทำงานบ้านในรูปภาพการซักผ้าห่มผ้าปูที่นอนนักเรียนคิดว่าเป็นงานที่ทำประจำวัน
ประจำสัปดาห์  ประจำเดือน
แนวคำตอบ  ประจำเดือน
1.3  การที่นักเรียนทำงานให้ประสบผลสำเร็จนักเรียนคิดว่าควรทำอย่างไร.
แนวคำตอบ  แบ่งงานให้สมาชิกในครอบครัวทำช่วยกัน  วางแผนการทำงานบ้าน และ
เขียนแผนปฏิบัติงานบ้าน
1.4  อาชีพในรูปภาพคืออาชีพใดบ้าง.
แนวคำตอบ  หมอ  พยาบาล  ทหาร  ตำรวจ  นายอำเภอ  ค้าขาย  ชาวนาเกษตกร
ช่างตัดเย็บเสื้อผ้า  ช่างเสริมสวย
1.5  นักเรียนคิดว่าในการทำงานแยกออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ  ได้กี่ประเภท.
แนวคำตอบ  2  ประเภทคือ  งานบ้าน และงานอาชีพ
2.  ครูบอกตัวชี้วัดว่าเมื่อนักเรียนเรียนจบในคาบนี้นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการทำงาน
เพื่อการดำรงชีวิตประจำวันได้
3.  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่  1  เรื่องการทำงานในชีวิตประจำวัน
4.  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ  3-4  คนคละความสามารถโดยมีนักเรียนเก่ง  1  คนนักเรียน
ปานกลาง  2  คนและนักเรียนอ่อน  1  คนเลือกประธานและเลขานุการกลุ่มซึ่งเรียกว่า
กลุ่มบ้าน
5.  ประธานแต่ละกลุ่มรับใบความรู้และแจกให้สมาชิกในกลุ่มดังนี้
คนที่  1  รับใบความรู้ที่  1.1  เรื่องหลักในการทำงาน  6P และกระบวนการทำงานให้
ประสบผลสำเร็จและรับใบงานที่  1.1
คนที่  2   รับใบความรู้ที่  1.2  เรื่องความหมายและความสำคัญของงานในชีวิตประจำวัน
และรับใบงานที่  1.2
คนที่  3   รับใบความรู้ที่  1.3   เรื่องวิธีเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมกับวัย
และรับใบงานที่  1.3
คนที่  4  รับใบความรู้ที่  1.4  เรื่องวิธีดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
และรับใบงาานที่  1ง4
6. จัดกลุ่มเชี่ยวชาญโดยให้นักเรียนจากกลุ่มบ้านที่ได้รับใบความรู้ใบงานเดียวกันไปรวม
กลุ่มกันใหม่  ศึกษาทำความเข้าใจและทำกิจกรรมร่วมกกันพร้อมสรุปองความรู้
เรื่องการทำงานในชีวิตประจำวันบันทึกลงในสมุดและใบงานขณะนักเรียนทำกิจกรรม
ครูคอยสังเกตุพฤติกรรมพร้อมชี้แนะข้อสงสัย
7.  ให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเชี่ยวชาญกลับเข้ากลุ่มเดิมแล้วดำเนินการดังนี้
7.1  ผลัดกันอภิปรายให้สมาชิกในกลุ่มฟังโดยเริ่มจากใบความรู้ที่  ใบงานที่  1.1
ใบความรู้ที่  ใบงานที่  1.2  ใบความรู้ที่  ใบงานที่  1.3  และใบความรุ้  ใบงานที่  1.4
ตามลำดับจนครบทุกคน
7.2  สมาชิกในกลุ่มวักถามข้อสงสัยต่าง ๆและทำความเข้าใจร่วมกัน
8.  ส่งตัวแทนกลุ่มละ  1  คนออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนครูและนักเรียนร่วมกัน
สรุปถีงหลักการทำงาน  6P กกระบวนการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ  ความหมายและ
ความสำคัญของงานในชีวิตประจำวัน  ความสำคัญของการแต่งกาย  วิธีเลือกใช้เสื้อผ้า
และเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมกับวัย  วิธีดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
ครุสอดแทรกหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องความพอประมาณโดยครูอธิบายถึง
ความหมายคือความพอดีที่ไม่น้อยจนเกินไปและไม่มากจนเกินไปโดยไม่เบียดเบียน
ตนเองและผู้อื่น  เข่นการทำงานในชีวิตประจำวัน  งานบ้านและงานอาชีพโดยงานบ้าน
แบ่งให้สมาชิกทำทุกคนและแต่ละคนให้ทำพอประมาณไม่มากไม่น้อยจนเกินไป
งานอาชีพจะได้รับค่าตอบแทนโดยแบ่งเป็นค่าอาหาร  เครื่องใช้  พอประมาณ
ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป ค่าเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายก็พอประมาณไม่มากไม่น้อย
ทุกอย่างที่ใช้ในชีวิตประจำวันต้องพอประมาณ
9.  นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน (ข้อสอบก่อนเรียนทำในเว็บไซต์ krupaga บันทึก
คะแนนในสมุดเปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
10.สื่อการเรียนการสอน
1.  รูปภาพการทำงานบ้าน
2.  รูปภาพอาชีพต่าง ๆ
3.  ใบความรู้  ใบงานที่  1.1  เรื่องหลักการทำงาน  6Pและกระบวนการทำงานให้ประสบผล
สำเร็จ
4.  ใบความรู้  ใบงานที่  1.2  เรื่องความหมายและความสำคัญของงานในชีวิตประจำวัน
5.  ใบความรู้   ใบงานที่  1.3  เรื่องวิธีเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมกับวัย
6.  ใบความรู้   ใบงานที่  1.4  เรื่องวิธีดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
7.  หนังสือการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4-6  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
8.  เว็บไซต์  krupaga
11.การวัดและประเมินผล
1.  สิ่งที่จะวัด
1.1  ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
1.2  พฤติกรรมการปฏิบัติ
1.3  การทำกิจกรรม
2.  วิธีการวัด
2.1  ทำแบบทดสอบ
2.2  สังเกตุพฤติกรรมการปฏิบัติ
2.3  ตรวจผลการทำกิจกรรม
3.  เครื่องมือวัด
3.1  แบบทดสอบ(แบบทดสอบก่อนเรียน  แบบทดสอบหลังเรียนและแบบทดสอบ
ประจำหน่วยการเรียนรู้)
3.2  แบบสังเกตุพฤติกรรม
3.3  แบบบันทึกการทำกิจกรรม
4.  เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
4.1  เกณฑ์การวัด
4.1.1  การให้คะแนนแบบทดสอบข้อถูกให้  1  คะแนน  ข้อผิดให้  0  คะแนน
4.1.2  ให้คะแนนพฤติกรรมดังนี้
ดีมากให้     9-10  คะแนน
ดี        ให้     7-8  คะแนน
พอใช้ ให้     5-6  คะแนน
ควรปรับปรุงให้  1-4  คะแนน
4.1.3  ให้คะแนนการทำกิจกรรม  ดังนี้  ข้อถูกให้  1  คะแนน  ข้อผิดให้  0  คะแนน
4.1.4  ให้คะแนนภาระงานงานหน่วยการเรียนรู้ที่  1  ในการทำการจัดเก็บเสื้อผ้า
3  คะแนน  การวางแผนการทำงานบ้าน   2  คะแนน     

4.2  เกรฑ์การประเมินผล
                 4.2.1  นักเรียนได้คะแนนทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ  50
                 4.2.2  นักเรียนได้คะแนนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ  70
                 4.2.3  นักเรียนได้คะแนนกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ  70
                 4.2.4  นักเรียนได้คะแนนผลงานไม่น้อยกว่าร้อยละ  60
12.  ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา
……………………………………………….
ลงชื่อ                                           ผู้บริหาร/ผู้แทน
          (นายไตรสรณ์  สุวพงษ์)
ตำแหน่ง  ผู้อำนวยการโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม

บันทึกผลหลังสอน
1.  ผลการสอน
2.  ปัญหา/อุปสรรค
3.  ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ลงชื่อ                                      ครูผู้สอน
      (นางผกาวดี  ศรีวะสุทธิ์)
ตำแหน่งครูโรงเรียนกุดชุมวิทยาคม

 
                

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการจัดตกแต่งบ้าน ง 22103 ม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการจัดและตกแต่งบ้าน รหัสวิชา ง 22103
                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2              เวลา  2  คาบ
สาระสำคัญ
          การจัดตกแต่งบ้านเป็นการจัดวางเครื่องเรือนและสิ่งของเครื่องใช้
ในบ้านเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและสะดวกต่อการใช้งาน
น่าอยู่อาศัยประหยัดค่าใช้จ่าย ประหยัดพลังงานเป็นที่พึงพอใจของผู้อยู่
อาศัยผู้มาเยี่ยมเยือนในการจัดและตกแต่งบ้านต้องอาศัยหลักการ ประโยชน์
ในการใช้สอย  ความประหยัด ความปลอดภัย ความสวยงาม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถบอกความหมายความสำคัญการจัดตกแต่งบ้าน
และจัดตกแต่งบ้านได้
สาระการเรียนรู้
1.ความหมายและความสำคัญของบ้าน
2.ความหมายและความสำคัญของการจัดและตกแต่งบ้าน
3.หลักการจัดและตกแต่งบ้าน
    3.1ห้องรับแขก
    3.2ห้องนอน
    3.3ห้องรับประทานอาหาร
4.ของตกแต่งบ้าน
กิจกรรมการเรียนการสอน
1.ครูและนักเรียนร่วมสนทนาถึงบ้านของนักเรียนโดยสุ่มถามนักเรียน
หลังจากนั้นให้นักเรียนฟังเพลงบ้านคือวิมานของเราจนจบนำรูปภาพ
บ้านและห้องต่างๆภายในบ้านให้นักเรียนดูแล้วสนทนากับนักเรียน
โดยใช้คำถามดังนี้
          1.1คำถาม  นักเรียนฟังเพลงบ้านคือวิมานของเราแล้วรู้สึกอย่างไร
                แนวคำตอบ  รักบ้าน อยากมีบ้านเป็นของตนเอง มีความสุข
   ตามความคิดของนักเรียนแต่ละคน
           1.2นักเรียนดูรูปภาพบ้านและห้องต่างๆภายในบ้านแล้วรู้สึกอย่างไร
                 แนวคำตอบ  มีความสุข อยากมีบ้าน อยากจัดและตกแต่งบ้านและ
ห้องต่างๆภายในบ้าน รักบ้านมากที่สุด ตอบตามความคิดของนักเรียน
           1.3นักเรียนจะสร้างบ้านในลักษณแบบใด.
                  แนวคำตอบ  ความคิดเห็นของนักเรียนแต่ละคน เช่น  แบบไทย
แบบสเปญ  แบบผสม  แบบรังนกกระจอก
           1.4ถ้านักเรียนสร้างบ้านจะจัดสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณบ้านอย่างไรเพื่อให้
สมาชิกในครอบครัวเกิดความพอใจสุขกายสบายใจ
                 แนวคำตอบ  จัดบริเวณบ้านให้สะอาดตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ
ตอบตามแนวคิดของนักเรียน
2.ครูแจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้นักเรียนทราบว่า เมื่อเรียนจบ 2 คาบนี้
นักเรียนสามารถบอกความหมายความสำคัญการจัดตกแต่งบ้านและ

จัดตกแต่งบ้านได้
3.ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 1 เรื่องการจัดและตกแต่งบ้าน
4.ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 3-4 คนคละความสามารถโดยมีนักเรียนเก่ง  1 คน

นักเรียนปานกลาง  2-3  คนและนักเรียนอ่อน 1  คนเลือกประธาน และเลขากลุ่ม
ซึ่งเรียกว่ากลุ่มบ้าน
5.ประธานแต่ละกลุ่มรับใบความรู้และแจกให้สมาชิกในกลุ่มดังนี้
            คนที่ 1  รับใบความรู้  ใบงานที่ 1.1 เรื่องความหมายและความสำคัญของบ้าน
            คนที่ 2  รับใบความรู้  ใบงานที่ 1.2 เรื่องความหมายและความสำคัญของ                      การจัดตกแต่งบ้าน
            คนที่ 3 รับใบความรู้  ใบงานที่ 1.3 เรื่องหลักการจัดและตกแต่งบ้าน
            คนที่ 4 รับใบความรู้  ใบงานที่ 1.4 เรื่องของตกแต่งบ้าน 
6.จัดกลุ่มเชี่ยวชาญโดยให้นักเรียนจากกลุ่มบ้านที่ได้รับใบความรู้ใบงานใบเดียวกัน
ไปรวมกลุ่มกันใหม่  ศีกษาทำความเข้าใจและทำกิจกรรมร่วมกันพร้อมสรุป
เนื้อหาโดยย่อลงในสมุดและใบงานขณะนักเรียนทำกิจกรรมครูคอยสังเกตพฤติกรรม
พร้อมชี้แนะข้อสงสัย
7.ให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเชี่ยวชาญกลับเข้ากลุ่มเดิมแล้วดำเนินการดังนี้
             7.1  ผลัดกันอภิปรายให้สมาชิกในกลุ่มฟังโดยโดยเริ่มจากใบความรู้ที่ 
1 ,  2,  3, และ 4 ตามลำดับ  จนครบทุกคน
             7.2  สมาชิกในกลุ่มซักถามข้อสงสัยต่างๆและทำความเข้าใจร่วมกัน
8.ส่งตัวแทนกลุ่มละ  1 คนออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนครูและนักเรียน
ร่วมกันสรุปถึงความหมายความสำคัญของบ้าน ความหมายความสำคัญของ
การจัดและตกแต่งบ้าน หลักการจัดตกแต่งบ้าน  ของตกแต่งบ้าน
9.ทดสอบหลังเรียน
สื่อการเรียนการสอน
1.เนื้อเพลงบ้านคือวิมานของเรา
2.รูปภาพบ้านและห้องต่างๆภายในบ้าน
3.ใบความรู้  ใบงานที่ 1.1 เรื่องความหมายและความสำคัญของบ้าน
4.ใบความรู้  ใบงานที่ 1.2 เรื่องความหมายและความสำคัญของการจัดและตกแต่งบ้าน
5.ใบความรู้  ใบงานที่ 1.3 เรื่องหลักกาจัดและตกแต่งบ้าน
6.ใบความรู้  ใบงานที่ 1.4 เรื่องของตกแต่งบ้าน
การวัดและประเมินผล
1.สิ่งที่จะวัด

            1.1  ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง(ตัวชี้วัด)
            1.2  พฤติกรรมการปฏิบัติ
            1.3  การทำกิจกรรม
2.วิธีการวัด
            2.1  ทำแบบทดสอบ
            2.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ
            2.3  ตรวจผลการทำกิจกรรม
3.เครื่องมือวัด
            3.1  แบบทดสอบ    3.2  แบบสังเกตพฤติกรรม
            3.3  แบบบันทึกการทำกิจกรรม
4.เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
            4.1  เกณฑ์การวัด     
                    4.1.1  ให้คะแนนแบบทดสอบ ข้อถูกให้  1 คะแนน ข้อผิดให้  0 คะแนน
                    4.1.2  ให้คะแนนพฤติกรรมดังนี้
                                 ดีมากให้   9-10    คะแนน
                                 ดี        ให้   7-8      คะแนน
                                 พอใช้ ให้  5-6      คะแนน
                                 ควรปรับปรุงให้  1-4   คะแนน
                   4.1.3  ให้คะแนนการทำกิจกรรม  ดังนี้ ข้อถูกให้  1  คะแนน
ข้อผิดให้  0  คะแนน
                   4.1.4  ให้คะแนนภาระงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ในการทำผลงาน
วาดรูปภาพบ้าน   10  คะแนน
         4.2  เกณฑ์การประเมินผล
                  4.2.1  นักเรียนได้คะแนนทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ  50
                  4.2.2  นักเรียนได้คะแนนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ  70
                  4.2.3  นักเรียนได้คะแนนกิจกรรมรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ  70
                  4.2.4  นักเรียนได้คะแนนผลงานไม่น้อยกว่าร้อยละ  60

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องการทำงานในชีวิตประจำวัน ง 33106

1.สาระสำคัญ
การทำงานเพื่อการดำรงชีวิตให้ประสบความสำเร็จนั้นจะต้องมีหลักการทำงานอย่างเป็นระบบ
2.ตัวชี้วัด/จุดประสงค์
    2.1  ตัวชี้วัด
อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
   2.2  จุดประสงค์การเรียนรู้
            1.บอกหลักในการทำงาน  6P ได้
            2.บอกหลักการทำงานให้ประสบผลสำเร็จได้
            3.อธิบายความหมายและความสำคัญของงานในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง
            4.อธิบายความสำคัญของการแต่งกายได้ถูกต้อง
            5.อธิบายวิธีเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมกับวัย
            6.อธิบายวิธีดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายให้สะอาดและมีความคุ้มค่า
3.สาระการเรียนรู้
           3.1  หลักการทำงาน  6 P
           3.2  หลักการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ
           3.3  ความหมายและความสำคัญของงานในชีวิตประจำวัน
           3.4  ความสำคัญของการแต่งกาย
           3.5  วิธีเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายที่เหมาะสมกับวัย
           3.6  วิธีดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
4.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
           4.1  ความสามารถในการสื่อสาร
           4.1  ความสามารถในการคิด
                   1.ทักษะการสังเกตวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
                   2.ทักษะการวิเคราะห์
          4.3  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
           1.  มีวินัย
           2.มีความรับผิดชอบ
           3.ใฝ่เรียนรู้    4.  มุ่งมั่นในการทำงาน
           5.อยู่อย่างพอเพียง   6.มุ่งมั่นในการทำงาน   7.รักความเป็นไทย
           8.มีจิตสาธารณะ
6.กิจกรรมการเรียนรู้
           เน้นกระบวนการกลุ่ม
(คาบที่ 1-2)
นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  เรื่องการทำงานในชีวิตประจำวัน
ขั้นที่  1  มีผู้นำและมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
         1.  ครูถามคำถามนักเรียนว่านักเรียนมีหลักการในการทำงานเดี่ยวอย่างไร
แล้วหลักการนั้นสามารถนำไปใช้ในการทำงานกลุ่มได้หรือไม่ อย่างไร
โดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
        2.  ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่าในการทำงานแต่ละอย่างไม่ว่าจะเป็นงานเดี่ยว(K)
หรืองานกลุ่มจำเป็นต้องใช้ทักษะ  หลักการและกระบวนการที่หลากหลายมาบูรณาการ
เข้าด้วยกันซึ่งเป็นหลักการเพื่อการดำรงชีวิตให้ประสบผลสำเร็จและการทำงานอาชีพ
งานบ้าน  ความหมายความสำคัญของงาน  ความสำคัญของการแต่งกาย  การเลือกเสื้อผ้า
และการดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายครูสอดแทรกคุรธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะ(A)
        3.นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
        4.นักเรียนแบ่งกลุ่ม  กลุ่มละ  6  คนจากนั้นเลือกหัวหน้ากลุ่มและแบ่งหน้าที่(P)
ความรับผิดชอบให้นักเรียนในกลุ่มศึกษาความรู้เรื่องการทำงานในชีวิตประจำวันจาก
หนังสือเรียนตามประเด็นที่กำหนดให้
         1.  หลักการทำงาน  6 P
         2.การทำงานให้ประสบผลสำเร็จ
         3.ความหมายและความสำคัญของงานในชีวิตประจำวัน
         4.ความสำคัญของการแต่งกาย
         5.การเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
         6.วิธีดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
ขั้นที่ 2  วางแผน
         นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนการทำงานและกำหนดหน้าที่ของเพื่อนในกลุ่ม
ในการทำใบงานที่ 1.1 เรื่องหลักการทำงานในชีวิตประจำวัน (งานอาชีพและงานบ้าน)
ขั้นที่ 3  ปฏิบัติตามแผน
         1.นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มตอบคำถามในใบงานที่ 1.1 ตามที่ได้วางแผนไว้
จากนั้นทบทวนความถูกต้อง
         2.นักเรียนตอบกระตุ้นความคิด  ข้อ  1-2
คำถามกระตุ้นความคิด
         1.การทำงานให้ประสบผลสำเร็จขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง
         2.โชคลาภ  วาสนามีผลให้การทำงานประสบความสำเร็จหรือไม่ อย่างไร
ขั้นที่ 4  ประเมินผลการปฏิบัติงาน
         นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันอภิปรายคำตอบของตนเองในใบงานที่ 1.1
ให้เพื่อนในกลุ่มฟังแล้วให้เพื่อนในกลุ่มเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นที่  5 ปรับปรุงและพัฒนา
          1.นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มช่วยกันแก้ไข  เพิ่มเติมและตรวจสอบความถูกต้องของใบงานที่  1.1
          2.นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องหลักการทำงานในชีวิตประจำวันหลักการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ
และความหมายความสำคัญของงานในชีวิตประจำวันและครูสอดแทรกหลักเศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง
ความพอประมาณ
          3.นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
7.การวัดและประเมินผล
เครื่องมือวัด  แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1   ใบงานที่  1.1
แบบสังเกตุพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม  แแบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
วิธีการวัด    ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน  ตรวจใบงานที่  1.1
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม  สังเกตุคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
ผ่านเกณฑ์ร้อยละ  60
8.สื่อการเรียนการสอน
1.หนังสือเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี  ม. 4- 6 และ ม. 6
2.ใบงานที่  1.1
3.ใบความรู้ที่  1.1
4.แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
5.เว็บไซต์  krupaga